ประเภทของการพูด แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
๑. การพูดระหว่างบุคคล ได้แก่
๑.๑ การทักทายปราศัย ลักษณะการทักทายปราศัยที่ดีดังนี้
- หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส แสดงอาการยินดีที่ได้พบผู้ที่เราทักทาย
- กล่าวคำปฏิสันถารที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม เช่น สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ
- แสดงกิริยาอาการประกอบคำปฏิสันถาร
- ข้อความที่ใช้ประกอบการทักทายควรเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดความสบายใจ
๑.๒ การแนะนำตนเอง การแนะนำเป็นสิ่งจำเป็น และมีความในการดำเนินชีวิตประจำวัน บุคคลอาจแนะนำตนเองในหลายโอกาสด้วยกัน การแนะนำตนเองมีหลักปฏิบัติดังนี้คือ ต้องบอกชื่อ นามสกุล บอกรายละเอียดกับตัวเรา และบอกวัตถุประสงค์ในการแนะนำตัว
๑.๓ การสนทนา หมายถึง การพูดคุยกัน พูดจาเพื่อนสื่อสารแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ความรู้สึก และประสบการณ์ การรับสารที่ง่ายที่สุด คือ การสนทนา
- คุณสมบัติของการสนทนาที่ดี คือ
- หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส
- ใช้ถ้อยคำสำนวนภาษาที่ง่าย ๆ สุภาพ คำพูดและน้ำเสียงน่าฟัง เป็นกันเองกับคู่สนทนา
๒. การพูดในกลุ่ม
การพูดในกลุ่มเป็นกิจกรรมที่สำคัญในสมัยปัจจุบัน ทั้งในชีวิตประจำวันและในการศึกษาเป็นเปิดโอกาสให้สมาชิกในกลุ่มได้ซักถาม แสดงความคิดเห็น หรือเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วมาเล่าให้ฟังกัน มีวิธีการดังต่อไปนี้
- เล่าถึงเนื้อหาและประเด็นประเด็นสำคัญ ๆ ว่ามีอะไรบ้าง
- ภาษาที่ใช้ควรเป็นภาษาที่ง่าย
- น้ำเสียงชัดเจนน่าฟัง เน้นเสียงในตอนที่สำคัญ
- ใช้กิริยาท่าทางประกอบการเล่าเรื่องตามความเหมาะสม
- ผู้เล่าเรื่องควรจำเรื่องได้เป็นอย่างดี
มารยาทในการพูด
๑.๑ การทักทายปราศัย ลักษณะการทักทายปราศัยที่ดีดังนี้
- หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส แสดงอาการยินดีที่ได้พบผู้ที่เราทักทาย
- กล่าวคำปฏิสันถารที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม เช่น สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ
- แสดงกิริยาอาการประกอบคำปฏิสันถาร
- ข้อความที่ใช้ประกอบการทักทายควรเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดความสบายใจ
๑.๒ การแนะนำตนเอง การแนะนำเป็นสิ่งจำเป็น และมีความในการดำเนินชีวิตประจำวัน บุคคลอาจแนะนำตนเองในหลายโอกาสด้วยกัน การแนะนำตนเองมีหลักปฏิบัติดังนี้คือ ต้องบอกชื่อ นามสกุล บอกรายละเอียดกับตัวเรา และบอกวัตถุประสงค์ในการแนะนำตัว
- คุณสมบัติของการสนทนาที่ดี คือ
- หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส
- ใช้ถ้อยคำสำนวนภาษาที่ง่าย ๆ สุภาพ คำพูดและน้ำเสียงน่าฟัง เป็นกันเองกับคู่สนทนา
๒. การพูดในกลุ่ม
การพูดในกลุ่มเป็นกิจกรรมที่สำคัญในสมัยปัจจุบัน ทั้งในชีวิตประจำวันและในการศึกษาเป็นเปิดโอกาสให้สมาชิกในกลุ่มได้ซักถาม แสดงความคิดเห็น หรือเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วมาเล่าให้ฟังกัน มีวิธีการดังต่อไปนี้
- เล่าถึงเนื้อหาและประเด็นประเด็นสำคัญ ๆ ว่ามีอะไรบ้าง
- ภาษาที่ใช้ควรเป็นภาษาที่ง่าย
- น้ำเสียงชัดเจนน่าฟัง เน้นเสียงในตอนที่สำคัญ
- ใช้กิริยาท่าทางประกอบการเล่าเรื่องตามความเหมาะสม
- ผู้เล่าเรื่องควรจำเรื่องได้เป็นอย่างดี
๑.พูดจาไพเราะ
๒.ไม่แย่งกันพูด
๓.พูดด้วยคำสุภาพไม่ยาบคาย
๔.พูดด้วยน้ำเสียงที่นุมนวน
๕.ไม่พูดแทรกจังหวะผู้อื่น
๖.พูดด้วยหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส
๗.ใช้ความดังของเสียงให้พอเหมาะ ไม่เสียงเบาหรือดังเกินไป
๘.ไม่พูดนินทาว่าร้ายผู้อื่น
๙.เปิดโอกาสให้ผู้ฟังซักถามหรือแสดงความคิดเห็น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น